การควบคุมไบโอฟิล์ม โดยใช้ กรีนไบออกไซด์- Green Bioxide |
ไบโอฟิล์ม คืออะไร |
คือ อยู่ในรูปจุลินทรีย์ คล้ายๆโคลน เกาะอยู่แบบถาวร บนพื้นผิวที่สัมผัสกับน้ำ ยากต่อการชะล้าง ไบโอฟิล์ม เกิดจากแบคทีเรียที่ใช้ และไม่ใช้อากาศ, สาหร่าย, เชื้อราและสาหร่าย (ถ้ามีแสงเพียงพอ) ประสานกันกับ polysaccharides โดยจุลินทรีย์ ทำให้เกิด ไบโอฟิล์ม และจะสร้างขึ้นเรื่อยๆ เกาะกันจนหนา ยากต่อการชะล้างออก ไบโอฟิล์ม ไม่ใช่องค์ประกอบเดี่ยว แต่มันสร้างสายพันธ์จุลินทรีย์ที่แตกต่างขึ้นมาด้วย เช่น โปรโตซัว และ โรติเฟอร์ |
ทำไมไบโอฟิล์มคือปัญหา? |
||
ไบโอฟิล์มกิดในท่อน้ำ, คูลลิ่งทาวเวอร์, fulter media, แทงค์น้ำ, ระบบชลประทาน และในทุกๆที่ๆ มีการสัมผัสกับน้ำแบบถาวร รูปแบบของไบโอฟิล์ม เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ ฟีโนมีนอล ซึ่งก็เป็นที่รู้กันดีว่า มันกำจัดได้ยากมาก หากใช้สารฆ่าเชื้อทั่วไป ในทุกๆระบบ ที่มีส่วนประกอบของโลหะ ไบโอฟิล์ม จะกระจายตัวกัดกร่อนโดนตรง เช่นเดียวกับแบคทีเรียที่มองไม่เห็น ไบโอฟิล์ม ยังเป็นแหล่งสะสมเชื้อไวรัสและเชื้อโรค เช่น Legionella วิธีฆ่าเชื้อทั่วไปที่ใช้ในการกำจัด คือ การใช้คลอรีนแบบเข้มข้น |
![]() |
|
การควบคุมไบโอฟิล์ม โดย วิธีฆ่าเชื้อทั่วไป |
||
|
คลอรีน เป็นวิธีฆ่าเชื้อที่ใช้กันทั่วไป เพื่อควบคุมจุลินทรีย์ในระบบน้ำ เช่น ระบบคูลลิ่งทาวเวอร์ และ ระบบน้ำดื่ม อย่างไรก็ตาม ในทุกๆที่ คลอรีนก็ยังมีประสิทธิภาพน้อย ในการควบคุมไบโอฟิล์ม คลอรีนไม่สามารถเข้าถึงไบโอฟิล์ม เชิงลึก กำจัดได้เพียงพื้นผิวเท่านั้น และคลอรีนก็ไม่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากระดับของสารอาหารในน้ำที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตของไบโอฟิล์มยังมีอยู่มาก จุดนี้เป็นปัญหาที่หลายๆอุตสาหกรรมพบเจออยู่ ในปัจจุบัน |
การควบคุมไบโอฟิล์มโดยใช้ กรีนไบออกไซด์ – Green Bioxide (ClO2) |
กรีนไบออกไซด์ สามารถควบคุมได้ทั้งไบโอฟิล์มและสาหร่าย มีประสิทธิภาพสูงกว่าคลอรีนและ Bromine ทั่วไป เพราะกรีนไบออกไซด์ คือสารคลอรีนไดออกไซด์ บริสุทธิ์ ในน้ำ สามารถทำลายจุลินทรีย์ของไบโอฟิล์มได้อย่างล้ำลึก ทำงานได้ดีในช่วง pH 4-10 ในขณะที่คลอรีน และ Bromine ทำงานในช่วงที่แคบกว่า pH 7 – 7.5 และมีประสิทธิภาพน้อยในสภาพที่เป็นด่าง |